วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558

วันที่ 27 เมษายน 2557


เนื้อหา

คุนครูให้ทำข้อเเบบประเมินการเรียนที่สอนมาทั้งหมดตั้งเเต่เปิดเรียนมา




ประเมินตนเอง สามารถทำแบบทดสอบได้
ประเมินเพื่อน    เพื่อนๆตั้งใจทำข้อสอบเเละช่วยกันระดมความคิดในการหาคำตอบ
ประเมินคุณครูผู้สอน คุณครูสอนเข้าใจจึงทำข้อสอบได้

วันที่ 23 เมษายน 2558


เนื่อหาที่เรียน

สอบสอน

วันนี้คุณครูให้สอบวิธีการสอนหลังจากเมื่อได้เขียนสัปดาห์ที่เเล้ว กลุ่มดิฉันเขียนเเผนการสอนเรื่องปลา คุณครูไดเเนะเเนวทางบอกถึงวิธีการว่าถ้าเราสอนควรนำสื่อที่เป็นของจริงมาสอนเพื่อเด็กจะได้มองเห็นภาพและเข้าใจได้มากยิ่ง










และคุณครูได้เเนะเเนวทางในการสอน ว่า ควรสอนให้เด็กได้เข้าใจอย่างเจนให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการร่วมกิจกรรมเพื่อเด็กจะได้ไม่เบื่อเเละยังทำให้เด็กเข้าใจเนื่อหายิ่งขึ้น

การประยุกต์ใช้
     นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการสอนเด็กๆในว่าเราควรมีวิธีและเทคนิคในการสอนอย่างไรให้เด็กมีความรุ้เเละความเข้าใจในเนื้อหาที่เรานำไปสอน

บรรยากาศในห้องเรียน
     มาเรียนใต้อาคารเนื่องจากอาคารเรียนที่ให้ไปเรียนอยู่ไกลมากไม่สามารถยกอุปกรณ์การเรียนการไปเรียนได้จึงมาเรียนใต้ตึกคนะ

ประเมินตนเองตั้งใจฟังเวลาอาจารย์สอนและจดเทคนิคในการเรียนการสอนที่คุณครูบอกได้
เประเมินพื่อนตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 
ประเมินครูผู้สอนแต่งกายสุภาพ พูดเสียงดังฟังชัดเจน จังหวะการพูดดี น่าฟัง ร้องเพลงเพราะ มีวิธีการสอนที่สอดแทรกกิจกกรมที่ทำให้สนุกกับการเรียน

ประจำวันที่ 8 เมษายน 2558





เนื้อหา
       การออกแบบกิจกรรม 

ขั้นตอนการออกแบบกิจกรรม

1. ศึกษาสาระที่ควรเรียนรู้
2. วิเคราะห์เนื้อหา
3. ศึกษาประสบการณ์จริง
4. บูรณาการคณิตศาสตร์
5. ออกแบบกิจกรรม

สาระที่ควรเรียนรู้

1. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
2. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมตัวเด็ก
3. ธรรมชาติรอบตัวเด็ก
4. สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก

หลักในการเลือกหัวข้อเรื่องเพื่อสร้างหน่วย
1. เรื่องใกล้ตัว
2. เรื่องที่มีผลกระทบต่อตัวเด็ก

ประสบการณ์สำคัญ
-  ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย
-  ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ
-  ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม
-  ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา

ข้อควรคำนึงในการออกแบบกิจกรรม
    เลือกเนื้อหาเหมาะสมกับพัฒนาการ เพราะข้อมูลเหล่านั้นจะสัมพันธ์กับข้อมูลเดิมที่เด็กมีทำให้มีการปรับโครงสร้างความรู้เป็นความรู้ใหม่เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเด็ก

ข้อควรคำนึงในการออกแบบกิจกรรม
    กระบวนการจ้ดกิจกรรมต้องสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ เพราะ กระบวนการที่เด็กได้ลงมือกระทำด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 จะช่วยให้การนำส่งข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องกับวิธีการทำงานของสมองตามพัฒนาการช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
 
วิธีการสอน
   -มีกิจกรรมตัวอย่างให้ทำก่อนเรียน
   -ใช้เทคโนโลยีมาเป็นสื่อในการสอน
   -มีกิจกรรมทรอดแทรกให้น่าสนใจ

การประยุกต์ใช้
     สามารถนำไปบูรราการ การใช้สอนกับการรียนการสอนของด็กปฐมวัยได้

บรรยากาศในห้องเรียน
     
ประเมินตนเอง
        ตั้งใจเรียน ฟังตามคำสั่งคุณครูละปฎิบัติกิจกรรมตามที่คุณครูสั่งได้เเละเข้าใจในสิ่งที่คุณครูสอน

ประเมินเพื่อน 
       เพื่อนมากันพร้อมเพรียงตั้งใจทำตามกิจกรรมที่คุณครูสั่งได้ทุกคน อาจมีเสียงเล็กน้อย

ประเมินอาจารย์
     มาสอนก่อนเวลาคุณครูพูดจาชัดเจน  เเต่งกายเรียบร้อยปล่อยตรงตามเวลา

วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558

ประจำวันที่ 25 มีนาคม 2558



กิจกรรมต่อไม้รูปทรงต่างๆ

อุปกรณ์

1.ไม้              2.ดินน้ำมัน

     1.ให้ต่อไม้กับดินน้ำมันเป็นรูปสามเหลี่ยม
     2.ให้ต่อไม้กับดินน้ำมันเป็นรูปสี่เหลี่ยม
     3.ให้ต่อไม้กับดินน้ำมันเป็นรูปอะไรก็ได้
     4.ให้ต่อไม้กับดินน้ำมันเป็นรูปทรงสามเหลี่ยม
     5.ให้ต่อไม้กับดินน้ำมันเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม
     6.ให้ต่อไม้กับดินน้ำมันเป็นรูปทรงอะไรก็ได้


นำเสนอบทความ
     เลขที่2 เรื่อง คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

นำเสนอโทรทัศน์ครู
     เลขที่25 เรื่อง สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับกิจกรรม 5ประสาทสัมผัส
     เลขที่26 เรื่อง การสอนคณิตศาสตร์โดยใช้นิทาน
นำเสนอรูปแบบการสอน

นำเสนอรูปแบบการจัดประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่

หลักสูตรการสอนแบบมอนเตสซอรี่
หลักสูตรการสอนแบบมอนเตสซอรี่ ดร.มาเรีย มอนเตสซอรี่ ผู้ริเริ่มคิดและจัดตั้งวิธีการสอนแบบมอนเตสซอรี่ จากความเชื่อในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กในระยะเริ่มต้นว่า จุดมุ่งหมายในการให้การศึกษาในระยะแรกนั้น ไม่ใช่การเอาความรู้ไปบอกให้เด็ก แต่ควรเป็นการปลูกฝังให้เด็กได้เจริญเติบโตไปตามความต้องการตามธรรมชาติของเขา 

ปรัชญาและหลักการสอน
1เด็กจะต้องได้รับการยอมรับนับถือ
2เด็กที่มีจิตซึมซับได้ 
3.ช่วงเวลาหลักของชีวิต 
4. การเตรียมสิ่งแวดล้อม 
5. การศึกษาด้วยตนเอง 

วิธีการจัดการเรียนการสอน
การเตรียม    = ครูเตรียมอุปกรณ์การศึกษาเด็กสามารถเข้าเรียนแบบคละอายุได้
การดำเนินการ = ขั้นนำ เด็กเลือกอุปกรณ์การศึกษาตามความสนใจ ,ขั้นสอน ครูสาธิตให้เด็กดู
ขั้นสรุป ครูให้เด็กเก็บอุปกรณ์ ครูบันทึกความรู้ ครูบันทึกรายการอุปกรณ์
 นำเสนอรูปแบบการจัดประสบการณ์แบบสตอรี่ไลน์ (Story line method)
วิธีสอนแบบสตอรีไลน์ เป็นวิธีที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จะมีการผูกเรื่องแต่ละตอนให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเรียงลำดับเหตุการณ์ หรือที่เรียกว่า กำหนดเส้นทางเดินเรื่อง โดยใช้คำถามหลักเป็นตัวนำ สู่การให้ผู้เรียนทำกิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อสร้างความรู้ด้วยตนเอง เป็นการเรียนตามสภาพจริง ที่มีการบูรณาการระหว่างวิชา เพื่อเป้าหมายพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนทั้งตัว
ลักษณะเด่นของวิธีสอน
     1.กำหนดเส้นทางการเดินเรื่อง (Storyline) และจัดเรียงเป็นตอนๆ (Episode) ด้วยการใช้คำถามหลัก (Key Questions) เป็นตัวกำหนดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้
     2.เน้นการใช้กิจกรรม (Activity Based Approach) ให้สอดคล้องกับคำถามหลัก และเนื้อหาการผูกเรื่อง
     3.เน้นให้ผู้เรียนสร้าง (Construct) ความรู้ด้วยตนเอง
     4.เป็นการเรียนตามสภาพจริง (Authentic Learning) มีการบูรณาการระหว่างวิชา (Integration)
     5.มีเหตุการณ์ (Incidents) เกิดขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้แก้ไขปัญหาและเรียนรู้
     6.แต่ละเรื่อง หรือแต่ละเหตุการณ์ที่กำหนด ต้องมีการระบุสิ่งต่อไปนี้ หรือมีองค์ประกอบต่อไปนี้
1) กำหนดฉาก โดยระบุสถานที่และเวลาโดยเฉพาะ
2) ตัวละคร อาจเป็นคนหรือเป็นสัตว์
3) วิถีการดำเนินชีวิตเพื่อใช้ศึกษา
4) ปัญหาที่รอการแก้ไ1ข


 นำเสนอรูปแบบการจัดประสบการณ์แบบสมองเป็นฐาน BBL

วิธีการเตรียมความพร้อมทางสมอง
             1. การดื่มน้ำ ควรดื่มน้ำบริสุทธิ์ วันละ 6 – 8 แก้ว เพราะถ้าร่างกายได้รับน้ำอย่างเพียงพอจะทำให้เซลล์สมองทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
              2. การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารให้ครบ หมู่ ซึ่งถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพราะอาหารจะทำให้เซลล์ประสาท / เซลล์สมองเจริญเติบโต ส่งผลให้ความจำดีและเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
                3. การหายใจ ควรฝึกหายใจให้ลึก ๆ ซ้ำ ๆ และมีจังหวะที่แน่นอน เพราะสมองต้องการออกซิเจน และออกซิเจนช่วยให้กระบวนการคิดดี ซึ่งถ้ามีการหายใจที่ถูกต้องจะช่วยให้เกิดสมาธิ สมองปลอดโปร่ง ลดสภาพการหลง ๆ ลืม ๆ และสามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได้
                4. การฟังเพลง / ดนตรี ควรหาโอกาสฟังเพลง / ดนตรี จะกระตุ้นให้เกิดการรับรู้และกระตุ้นการทำงานของสมองทั้งสองซีกให้สอดคล้องกันทั้งระบบ 
               5. การคลายความเครียด ความเครียดเป็นอุปสรรค์ต่อการเรียนรู้ ดังนั้น ควรหาเวลาพักผ่อน ออกกำลังกาย จัดลำดับความสำคัญของงาน การหัวเราะ / ยิ้ม ทำให้จิตใจเบิกบาน ไม่เครียดและไม่คิดว่าตัวเองเป็นคนไร้ค่า
                6. การบริหารสมอง การบริหารสมองเป็นระบบการเคลื่อนไหวร่างกาย ที่จะเร้าให้ สมองทำงานอย่างดี เป็นการเชื่อมโยงระหว่างการเคลื่อนไหวร่างกายกับการทำงานของสมอง 


 นำเสนอรูปแบบการจัดประสบการณ์แบบSTEM
   STEM ย่อมาจาก Science, Technology, Engineering and Mathematics เป็นแนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนทั้งสี่สาขาเข้าด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์ (Science), เทคโนโลยี (Technology),วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) เพื่อให้ผู้เรียนนำความรู้ทุกแขนงมาใช้ในการแก้ปัญหา และสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ในชีวิตประจำวัน โดยอาศัยการจัดการเรียนรู้ด้วยครูหลายสาขาร่วมมือกัน
              - Science เป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติ โดยอาศัยกระบวนการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry)
                   -Technology เป็นวิชาที่ว่าด้วยกระบวนการทำงานที่มีการประยุกต์ศาสตร์สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการแก้ปัญหา ปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาสิ่งต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ หรือความจำเป็นของมนุษย์
                   -Engineering เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือสร้างสิ่งต่างๆ เพื่อมาอำนวยความสะดวกของมนุษย์ โดยอาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และกระบวนการทางเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้สร้างสรรค์ชิ้นงานนั้นๆ
                   -Mathematics เป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ เป็นพื้นฐานสำคัญในการศึกษาและต่อยอดทางวิศวกรรมศาสตร์ 
-นำเสนอการแต่งนิทานคณิตศาสตร์ คำคล้องจอง ปริศนาคำทาย จากสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


วิธีการสอน
   -มีกิจกรรมตัวอย่างให้ทำก่อนเรียน
   -ใช้เทคโนโลยีมาเป็นสื่อในการสอน
   -มีกิจกรรมทรอดแทรกให้น่าสนใจ

การประยุกต์ใช้
     สามารถนำไปบูรราการ การใช้สอนกับการรียนการสอนของด็กปฐมวัยได้
บรรยากาศในห้องเรียน
     
ประเมินตนเอง
        ตั้งใจเรียน ฟังตามคำสั่งคุณครูละปฎิบัติกิจกรรมตามที่คุณครูสั่งได้เเละเข้าใจในสิ่งที่คุณครูสอน

ประเมินเพื่อน 
       เพื่อนมากันพร้อมเพรียงตั้งใจทำตามกิจกรรมที่คุณครูสั่งได้ทุกคน อาจมีเสียงเล็กน้อย

ประเมินอาจารย์
     มาสอนก่อนเวลาคุณครูพูดจาชัดเจน  เเต่งกายเรียบร้อยปล่อยตรงตามเวลา

ประจำวันที่ 18 มีนาคม 2558



เนื้อหา
        กิจกรรม

           - นำเสนอวิจัย
                   เลขที่ 22

           - นำเสนอบทความ
                   เลขที่ 1 นำเสนอบทความเรื่อง " เทคนิคการสอนเลขอนุบาล"
                   เลขที่ 3 นำเสนอบทความเรื่อง " เสริมการเรียนเลขให้วัยอนุบาล "
       
          - นำเสนอกิจกรรมที่ส่งเสริมคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                   เลขที่ 3 กิจกรรม กระดุมหลากสี
                   เลขที่ 25 กิจกรรม แสนสนุก
                   เลขที่ 26 กิจกรรม อนุรักษ์เชิงปริมาณ


วิธีการสอน ให้นำเสนอวิจัย บทความ และกิจกรรมที่ส่งเสริมคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเสริมความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นำเสนอประยุกต์กิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย

ทักษะ
 ทักษะในการคิดวิเคราะห์ ทักษะในการพูดนำเสนองาน


การนำไปประยุกต์ใช้
     เพื่อใช้จัดกิจกรรมให้เเก่เด็กปฐมวัย
เพื่อนำความรู้ที่ได้รับไปจัดกิจกรรมการบูรณาการ ให้เหมาะกับเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กได้ใช้ทักษะตามศักยภาพของตนเองเเละพัฒนาทักษาต่างๆให้ได้ดีมากขึ้น


บรรยากาศในห้องเรียน
      บรรากาศค่อนข้างเย็น เครื่องมืออุปกรณืพร้อมใช้งานดีมก มีเสียงเพื่อนพูคุยบ้างเล็กน้อย  อาจมีเสียงรบกวนจากขางนอกเพราะมีการจัดกิจกรรมานกีฬาสี


ประเมินตนเอง
        ตั้งใจเรียน ฟังตามคำสั่งคุณครูละปฎิบัติกิจกรรมตามที่คุณครูสั่งได้

ประเมินเพื่อน 
        เพื่อนมาเรียนน้อย เพื่อนให้ความร่วมมือในกิจกรรมได้เป็นอย่างดี เพื่อนให้ความร่วมมือในการเรียนดีทำงานตามที่ได้รับมอบหมายได้ดี มีพูดกันเสียงดังเล็กน้อย


ประเมินอาจารย์
          มีเทคนิคการสอนที่ดี พูดเสริมแรงให้นักศึกษาเกิดความรู้และเกิดทักษะใหม่ๆ